GE013 Technology and Innovation for the Future: เมื่อ Data และ AI กำลังเปลี่ยนทิศทางของโลก ทักษะทางด้าน Technology and Innovation สำหรับคน GEN ใหม่ จึงต้องเปลี่ยน (EP Special)
การทำงานในยุคปัจจุบันและอนาคตจะต้องพึ่งพาข้อมูลและเทคโนโลยีอย่างมาก คนที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพจะมีข้อได้เปรียบในการแข่งขันในตลาดแรงงาน การมีทักษะที่ทันสมัยจะช่วยให้สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมและนวัตกรรมใหม่ๆ ได้ดีขึ้น โดย คุณกล้า ตั้งสุวรรณ
Instructor: กล้า ตั้งสุวรรณ
Group: BU Community
Course(s): GE013
The Power of Digital Marketing Effect on Business During the COVID-19 Crisis
The COVID-19 pandemic significantly impacted businesses worldwide, and digital marketing played a crucial role in helping companies adapt and survive during the crisis, and some key effects of digital marketing on businesses during the COVID-19 pandemic By Siuki, Helen
Instructor: Siuki, Helen
Group: BU Community
Customer Insight Pruksa
การบรรยายเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลความต้องการของลูกค้า (Customer Insight) นำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ของพฤกษา เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์ยุคใหม่และเทรนด์ความใส่ใจด้านสุขภาพและการใช้ชีวิตในยุคโควิด โดย Kamolsri Autsawaphakorn
Instructor: Kamolsri Autsawaphakorn
Group: BU Community
Course(s):
5/5 - (4 votes)
Tag(s): , ,
BF021 Influencer Branding: สร้างตัวตนบนโลกออนไลน์ให้ปังและดังเวอร์ “คุณไทเกอร์”
การบรรยายเกี่ยวกับการเริ่มต้นยังไงในโลก TikTok ฮาวทูต๊อก ๆ ฉบับ Amnotlion มาทำความรู้จักประเภทคอนเทนส์ Platform ที่แตกต่างกันและไอเดียการทำงาน Content Creator โดยคุณวงศกร เชื้อนิล เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2567
Instructor: วงศกร เชื้อนิล
Group: BU Community
Course(s): BF021
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”