GE015 Entrepreneurial Spirit and Financial Literacy: SDGs กับ ภาคธุรกิจ (ESG Model) (EP.4/5)
การบูรณาการ SDGs เข้าไปใน ESG Model ทำให้ภาคธุรกิจสามารถดำเนินกิจกรรมที่มีความยั่งยืนและมีผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนในระยะยาว โดย ผศ.ดร.กาญจนา ส่งวัฒนา
Instructor: กาญจนา ส่งวัฒนา
Group: BU Community
Course(s): GE015
5/5 - (4 votes)
Tag(s): , ,
GE012 Citizenship in Society and International Community: Global Mindset (EP.3/5)
Global Mindset ทัศนคติหรือกรอบความคิดแบบสากล เป็นการมองในมุมกว้างที่ไม่ได้จำกัดแค่เฉพาะความรู้หรือข้อมูลที่มีแค่ในประเทศหรือเพียงแค่ในสังคมที่ตนอาศัยอยู่ แต่ต้องรู้ให้เท่าทันโลกที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อก้าวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ โดย ผศ.ดร.ภัทริยา งามมุข
GE011 Thinking Skills for Lifelong Learning: Growth Mindset (EP.1/5)
กระบวนการสร้าง Growth Mindset ปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้เพร้อมเรียนรู้และรับมือกับความเปลี่ยนแปลง วิธีคิดที่เชื่อว่าทักษะและความรู้ความสามารถของเราสามารถพัฒนาได้ผ่านการเรียนรู้และการพยายามฝึกฝน ไม่มีอะไรที่อยู่เหนือความพยายามและความตั้งใจ โดย ผศ.ดร.ภัทริยา งามมุข
The Power of Digital Marketing Effect on Business During the COVID-19 Crisis
The COVID-19 pandemic significantly impacted businesses worldwide, and digital marketing played a crucial role in helping companies adapt and survive during the crisis, and some key effects of digital marketing on businesses during the COVID-19 pandemic By Siuki, Helen
Instructor: Siuki, Helen
Group: BU Community
A Journey to success in food business
A Journey to Success in Food Business involves the steps and processes needed to build and grow a successful food-related enterprise. Success in the food business requires patience, creativity, adaptability, and expertise in food and the target market. By Auhtaphon Ratan-arporn
Instructor: Auhtaphon Ratan-arporn
Group: BU Community
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”