GE011 Thinking Skills for Lifelong Learning: Analytical thinking & Conceptual thinking (EP.5/5)
Analytical Thinking และ Conceptual Thinking เป็นทักษะทางความคิดที่สำคัญในหลายด้านของการทำงานและการแก้ปัญหา ทั้งสองทักษะนี้มักจะใช้ร่วมกันในสถานการณ์ที่ซับซ้อน ซึ่ง Analytical Thinking จะช่วยในการทำความเข้าใจและแยกแยะปัญหา ขณะที่ Conceptual Thinking จะช่วยในการมองภาพรวมและหาวิธีการแก้ปัญหาในระดับที่สูงขึ้น โดย ดร.จิราพร เกิดชูชื่น
สอนสูตรรวยด้วยการทำ ฝอยทอง
การทำฝอยทอง ทำอย่างไรให้สีเหลืองทองอร่าม เหนียวนุ่มหวานอร่อย และยังเป็นการสร้างอาชีพให้มีรายได้และรวยได้อีกด้วย โดยโครงการฝึกอาชีพให้นักศึกษา ดร.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สอนสูตรรวยด้วยการทำ Soft Cookies
การทำขนมคุกกี้ เป็นกิจกรรมที่ไม่เพียงนำมาซึ่งความสุขในการลิ้มลองรสชาติที่อร่อยและหอมหวาน ยังเป็นการสร้างอาชีพให้มีรายได้และรวยได้อีกด้วย โดยโครงการฝึกอาชีพให้นักศึกษา ดร.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Workshop and food tasting “Thai kitchen to the world”
การบรรยายเกี่ยวกับ Workshop and food tasting “Thai kitchen to the world” เปิดประสบการณ์ใหม่ในการทำอาหารไทยกับคอร์สเรียนทำอาหารไทยสุดพิเศษ ที่จะพาทุกคนเรียนรู้ศิลปะและเทคนิคการทำอาหารไทยแบบดั้งเดิม ตั้งแต่ขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นสูง โดย Chef Vanessa Wu
Instructor: Chef Vanessa Wu
Group: BU Community
Course(s):
5/5 - (4 votes)
Tag(s): , , ,
Workshop: Library Resources and How EDS will support for the researcher
This workshop covers advanced searching and the more sophisticated of databases in the EBSCOhost platform. Library Resources, What is EDS and how it works?, Techniques in “Feature & Setting”, How EDS support the researcher. By Nantarat Nontiwatwanich on January 20, 2024
Instructor: Nantarat Nontiwatwanich
Group: BU Community
Course(s):
5/5 - (4 votes)
Tag(s): , , ,
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”