GE013 Technology and Innovation for the Future: Intellectual Property for Innovation (EP.4/5)
ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการสร้างสรรค์หรือพัฒนาเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ หรือแนวคิดใหม่ ๆ ที่ส่งเสริมนวัตกรรม (Innovation) IP ช่วยให้ผู้สร้างสรรค์หรือผู้คิดค้นมีสิทธิ์คุ้มครองและเป็นเจ้าของผลงานของตนเอง ซึ่งสามารถใช้ในการสร้างมูลค่า การแข่งขันทางธุรกิจ หรือการกระตุ้นให้เกิดการวิจัยและพัฒนาเพิ่มเติม โดย อ.บุญยศิษย์ บุญโพธิ์
GE012 Citizenship in Society and International Community: PDPA Personal Data Protection Act (EP.2/5)
PDPA พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งเป็นกฎหมายที่ถูกสร้างมาเพื่อป้องกันการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลของทุกคน รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลและนำไปใช้โดยไม่ได้แจ้งให้ทราบ และไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลเสียก่อน โดย อ.บุญยศิษย์ บุญโพธิ์
Workshop and food tasting “Thai kitchen to the world”
การบรรยายเกี่ยวกับ Workshop and food tasting “Thai kitchen to the world” เปิดประสบการณ์ใหม่ในการทำอาหารไทยกับคอร์สเรียนทำอาหารไทยสุดพิเศษ ที่จะพาทุกคนเรียนรู้ศิลปะและเทคนิคการทำอาหารไทยแบบดั้งเดิม ตั้งแต่ขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นสูง โดย Chef Vanessa Wu
Instructor: Chef Vanessa Wu
Group: BU Community
Course(s):
5/5 - (4 votes)
Tag(s): , , ,
Monthly Update : New Business Idea Development
Monthly Update is a monthly event conducted by BUSEM Center for Entrepreneurship aiming to develop both entrepreneurial skills and mindset, update news on up-to-the-minute business topics, and provide students opportunity to prepare and get ready for upcoming events in the business world.
BF021 Influencer Branding: 3 เหตุผลต้องรู้ ทำไมรีวิวแล้วต้องบูสต์โพส
การบรรยายเกี่ยวกับ 3 เหตุผลต้องรู้ ทำไมรีวิวแล้วต้องบูสต์โพส 1. Brand ได้ Reach เพิ่มขึ้น ในราคาต่อหน่วยที่ถูกลงเพิ่มโอกาสขายของ 2. Influencer เป็นที่รู้จักมากขึ้น และ 3. Audience ได้คอนเทนต์คุณภาพ ตรงกับความสนใจ โดยคุณพชร ไตรลาภวิฒิ เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2567
Instructor: พชร ไตรลาภวิฒิ
Group: BU Community
Course(s): BF021
5/5 - (4 votes)
Tag(s): , , ,
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”