ศิลปะที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนถึงแนวคิด วิถีชีวิต และสังคมในช่วงเวลาที่ศิลปินสร้างผลงานนั้น ๆ ความสำคัญของศิลปะร่วมสมัยคือการแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ที่ไร้ขีดจำกัด โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิม ๆ และมีการนำเทคโนโลยีและสื่อใหม่ ๆ เข้ามามีบทบาทในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งทำให้เกิดความหลากหลายทั้งในด้านสื่อ เทคนิค และแนวคิด โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
ศิลปะร่วมสมัย 9 สาขา ได้แก่ ทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง ภาพยนตร์ สถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์ เรขศิลป์และการออกแบบ โดยมุ่งหวังให้ความรู้ ประสบการณ์และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินผู้มีชื่อเสียงทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ นำเสนอเป็นความรู้ในเชิงศิลปะ สามารถกระตุ้นความคิดให้เกิดแรงผลักดันในเชิงบวกแก่ผู้อ่าน โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
การที่คนสองคนเชื่อมโยงกันทางด้านอารมร์และทางกาย ซึ่งเป็นการผสมผสานที่มีระดับแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบและระดับความสัมพันธ์ การสื่อถึงรูปแบบความสัมพันธ์ต่าง ๆ โดย อ.พัชราพร ดีวงษ์
Lao economy, Lao job market & labor law, AEC and labor mobility, demand for talents, get yourself ready and about 108JOB By Keovisouk Dalasane
Lao economy, Lao job market & labor law, AEC and labor mobility, demand for talents, get yourself ready and about 108JOB By Keovisouk Dalasane
Lao economy, Lao job market & labor law, AEC and labor mobility, demand for talents, get yourself ready and about 108JOB By Keovisouk Dalasane
การบรรยายเกี่ยวกับ Workshop and food tasting “Thai kitchen to the world” เปิดประสบการณ์ใหม่ในการทำอาหารไทยกับคอร์สเรียนทำอาหารไทยสุดพิเศษ ที่จะพาทุกคนเรียนรู้ศิลปะและเทคนิคการทำอาหารไทยแบบดั้งเดิม ตั้งแต่ขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นสูง โดย Chef Vanessa Wu
การเปิดประสบการณ์ให้กับนักศึกษาได้ฝึกทักษะทางด้านการสร้างบุคลิกในงานวิทยุโทรทัศน์และสื่อสตรีมมิง กับอุตสาหกรรมบันเทิงในประเทศจีน
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง AR/VR Technology
โดย Khun Saran Nantasuk, Founder & CEOof Cyberrex Design
เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564
เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง Data Analytics Trends
โดย Khun Attapon Paknoi, Entrepreneurship and Innovation, Specialist and Researcher, University of London
เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2564
เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563