GE014 Aesthetics and Well-being for Life: Contemporary Art ศิลปะร่วมสมัย & ศิลปะอยู่รอบตัวเรามากกว่าที่คิด (EP.5/6)
ศิลปะที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนถึงแนวคิด วิถีชีวิต และสังคมในช่วงเวลาที่ศิลปินสร้างผลงานนั้น ๆ ความสำคัญของศิลปะร่วมสมัยคือการแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ที่ไร้ขีดจำกัด โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิม ๆ และมีการนำเทคโนโลยีและสื่อใหม่ ๆ เข้ามามีบทบาทในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งทำให้เกิดความหลากหลายทั้งในด้านสื่อ เทคนิค และแนวคิด โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
GE014 Aesthetics and Well-being for Life: ศิลปะร่วมสมัย 9 สาขา (EP.4/6)
ศิลปะร่วมสมัย 9 สาขา ได้แก่ ทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง ภาพยนตร์ สถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์ เรขศิลป์และการออกแบบ โดยมุ่งหวังให้ความรู้ ประสบการณ์และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินผู้มีชื่อเสียงทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ นำเสนอเป็นความรู้ในเชิงศิลปะ สามารถกระตุ้นความคิดให้เกิดแรงผลักดันในเชิงบวกแก่ผู้อ่าน โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
GE014 Aesthetics and Well-being for Life: ก่อการรักเข้าใจ “ความสัมพันธ์” สร้างความสุขสู่ความรัก (EP.1/6)
การที่คนสองคนเชื่อมโยงกันทางด้านอารมร์และทางกาย ซึ่งเป็นการผสมผสานที่มีระดับแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบและระดับความสัมพันธ์ การสื่อถึงรูปแบบความสัมพันธ์ต่าง ๆ โดย อ.พัชราพร ดีวงษ์
GE013 Technology and Innovation for the Future: Intellectual Property for Innovation (EP.4/5)
ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการสร้างสรรค์หรือพัฒนาเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ หรือแนวคิดใหม่ ๆ ที่ส่งเสริมนวัตกรรม (Innovation) IP ช่วยให้ผู้สร้างสรรค์หรือผู้คิดค้นมีสิทธิ์คุ้มครองและเป็นเจ้าของผลงานของตนเอง ซึ่งสามารถใช้ในการสร้างมูลค่า การแข่งขันทางธุรกิจ หรือการกระตุ้นให้เกิดการวิจัยและพัฒนาเพิ่มเติม โดย อ.บุญยศิษย์ บุญโพธิ์
GE012 Citizenship in Society and International Community: PDPA Personal Data Protection Act (EP.2/5)
PDPA พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งเป็นกฎหมายที่ถูกสร้างมาเพื่อป้องกันการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลของทุกคน รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลและนำไปใช้โดยไม่ได้แจ้งให้ทราบ และไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลเสียก่อน โดย อ.บุญยศิษย์ บุญโพธิ์
ENL181 ENG911: Study Skills for English Majors ทักษะการสืบค้นข้อมูลของนักศึกษา
การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการสืบค้นข้อมูลของนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และมีความเข้าใจในบริการต่าง ๆ ของหอสมุด เช่น Turnitin, เว็บไซต์สำนักหอสมุด, Online Resource, Learning Hub และ eBooks เป็นต้น รวมถึงการมีทักษะในการสืบค้นฐานข้อมูลสารสนเทศออนไลน์ที่ถูกต้อง โดย สำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
การใช้งานโปรแกรม EndNote
การใช้งานโปรแกรม EndNote สำหรับอาจารย์ การติดตั้งโปรแกรม EndNote การสร้างคลังเก็บข้อมูล การนำเข้าข้อมูลบรรณานุกรมด้วยตนเอง การนำเข้าข้อมูลบรรณานุกรมจากฐานข้อมูล การนำบรรณานุกรมจาก EndNote มาใช้งาน และการทำบรรณานุกรมและการอ้างอิงในเนื้อหาร่วมกับโปรแกรม MS word บรรยายโดย อ.มุจรินทร์ วุฒิกุล เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567