ศิลปะที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนถึงแนวคิด วิถีชีวิต และสังคมในช่วงเวลาที่ศิลปินสร้างผลงานนั้น ๆ ความสำคัญของศิลปะร่วมสมัยคือการแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ที่ไร้ขีดจำกัด โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิม ๆ และมีการนำเทคโนโลยีและสื่อใหม่ ๆ เข้ามามีบทบาทในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งทำให้เกิดความหลากหลายทั้งในด้านสื่อ เทคนิค และแนวคิด โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
ศิลปะร่วมสมัย 9 สาขา ได้แก่ ทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง ภาพยนตร์ สถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์ เรขศิลป์และการออกแบบ โดยมุ่งหวังให้ความรู้ ประสบการณ์และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินผู้มีชื่อเสียงทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ นำเสนอเป็นความรู้ในเชิงศิลปะ สามารถกระตุ้นความคิดให้เกิดแรงผลักดันในเชิงบวกแก่ผู้อ่าน โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
การที่คนสองคนเชื่อมโยงกันทางด้านอารมร์และทางกาย ซึ่งเป็นการผสมผสานที่มีระดับแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบและระดับความสัมพันธ์ การสื่อถึงรูปแบบความสัมพันธ์ต่าง ๆ โดย อ.พัชราพร ดีวงษ์
การทำฝอยทอง ทำอย่างไรให้สีเหลืองทองอร่าม เหนียวนุ่มหวานอร่อย และยังเป็นการสร้างอาชีพให้มีรายได้และรวยได้อีกด้วย โดยโครงการฝึกอาชีพให้นักศึกษา ดร.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การทำขนมคุกกี้ เป็นกิจกรรมที่ไม่เพียงนำมาซึ่งความสุขในการลิ้มลองรสชาติที่อร่อยและหอมหวาน ยังเป็นการสร้างอาชีพให้มีรายได้และรวยได้อีกด้วย โดยโครงการฝึกอาชีพให้นักศึกษา ดร.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Lao economy, Lao job market & labor law, AEC and labor mobility, demand for talents, get yourself ready and about 108JOB By Keovisouk Dalasane
Lao economy, Lao job market & labor law, AEC and labor mobility, demand for talents, get yourself ready and about 108JOB By Keovisouk Dalasane
Lao economy, Lao job market & labor law, AEC and labor mobility, demand for talents, get yourself ready and about 108JOB By Keovisouk Dalasane
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง Artificial Intelligence Technology
โดย Dr. Win Voravuthikunchai, Founder & CEO Botnoi Group
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564
เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง AR/VR Technology
โดย Khun Saran Nantasuk, Founder & CEOof Cyberrex Design
เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564
เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563