ศิลปะที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนถึงแนวคิด วิถีชีวิต และสังคมในช่วงเวลาที่ศิลปินสร้างผลงานนั้น ๆ ความสำคัญของศิลปะร่วมสมัยคือการแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ที่ไร้ขีดจำกัด โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิม ๆ และมีการนำเทคโนโลยีและสื่อใหม่ ๆ เข้ามามีบทบาทในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งทำให้เกิดความหลากหลายทั้งในด้านสื่อ เทคนิค และแนวคิด โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
ศิลปะร่วมสมัย 9 สาขา ได้แก่ ทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง ภาพยนตร์ สถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์ เรขศิลป์และการออกแบบ โดยมุ่งหวังให้ความรู้ ประสบการณ์และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินผู้มีชื่อเสียงทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ นำเสนอเป็นความรู้ในเชิงศิลปะ สามารถกระตุ้นความคิดให้เกิดแรงผลักดันในเชิงบวกแก่ผู้อ่าน โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
การบรรยายเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลความต้องการของลูกค้า (Customer Insight) นำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ของพฤกษา เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์ยุคใหม่และเทรนด์ความใส่ใจด้านสุขภาพและการใช้ชีวิตในยุคโควิด โดย Kamolsri Autsawaphakorn
การบรรยายเกี่ยวกับหลักการใช้สกินแคร์ จากผู้เชี่ยวชาญ Shiseido Ginza Tokyo และเรียนรู้เทคนิคการแต่งหน้าด้วยผลิตภัณฑ์ Make up NARS โดย คุณศุภาพร บุญเสรฐ และคุณธีร์ สุภฉัตร
การบรรยายเกี่ยวกับเบื้องหลังการสร้างเพจ GOG GAG ความคิดสร้างสรรค์สำหรับ Creator แนวคิดการเริ่มทำคอนเทนส์ การเลือกเป็นครีเอเตอร์แบบไหนดี และไอเดียในการคิดคอนเทนส์การทำงาน โดยคุณเปรื่องวุฒิ นิกรกิตติโกศล เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567
When you're looking for a job or positioning yourself for career growth, it's important to have an online presence where you can showcase your skills and experience. Your online professional profiles will also help you connect with contacts who can expedite your job search and assist you with moving up the career ladder. By Dr.Orrapavadee Serewittana
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง Artificial Intelligence Technology
โดย Dr. Win Voravuthikunchai, Founder & CEO Botnoi Group
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564
เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง Gamification โดย Khun Supara Dighton-Mason, Entrepreneurship and Innovation, Specialist and Researcher, University of London เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563