ศิลปะที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนถึงแนวคิด วิถีชีวิต และสังคมในช่วงเวลาที่ศิลปินสร้างผลงานนั้น ๆ ความสำคัญของศิลปะร่วมสมัยคือการแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ที่ไร้ขีดจำกัด โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบเดิม ๆ และมีการนำเทคโนโลยีและสื่อใหม่ ๆ เข้ามามีบทบาทในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งทำให้เกิดความหลากหลายทั้งในด้านสื่อ เทคนิค และแนวคิด โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
ศิลปะร่วมสมัย 9 สาขา ได้แก่ ทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง ภาพยนตร์ สถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์ เรขศิลป์และการออกแบบ โดยมุ่งหวังให้ความรู้ ประสบการณ์และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินผู้มีชื่อเสียงทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ นำเสนอเป็นความรู้ในเชิงศิลปะ สามารถกระตุ้นความคิดให้เกิดแรงผลักดันในเชิงบวกแก่ผู้อ่าน โดย ดร.ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
Talk on strategic marketing communications & brand collaboration strategy by Khun Angsana Puangmalit, Communication Art Major, Bangkok University International
Brexit has significant political, economic, and social implications for both the UK and the EU, as it involves the renegotiation of various agreements, such as trade, immigration, and security. By Prof. Dr. Holger Paschedag from Aschaffenburg University of Applied Sciences (UAS)
บรรยากาศงานสัมมนา ล้มลุกปลุกแบรนด์ โดยวิทยากรพิเศษ คุณสน จันทร์ศุภฤกษ์ เจ้าของและผู้ก่อตั้งแบรนด์ SUITCUBE เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2563 ณ ห้อง The Banquet อาคาร A5 ชั้น 5 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Main Campus จัดโดย ภาควิชาการสื่อสารแบรนด์ คณะนิเทศศาสตร์
ภาควิชาการสื่อสารแบรนด์ คณะนิเทศศาสตร์ จัดสัมมนา สร้างแบรนด์ติดชิดขอบสนาม โดยวิทยากรสุดพิเศษ "พี่เบลล์ อรรถพล ไข่ทอง หรือในนามที่ทุกคนรู้จัก"พี่เบลล์ ขอบสนาม" เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 เวลา 14.00- 16.30 น. ณ ห้อง The Banquet อาคาร A5 ชั้น 5 มหาวิทยาลัย
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง Data Analytics Trends
โดย Khun Attapon Paknoi, Entrepreneurship and Innovation, Specialist and Researcher, University of London
เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2564
เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563
การบรรยายแบบออนไลน์ เรื่อง Gamification โดย Khun Supara Dighton-Mason, Entrepreneurship and Innovation, Specialist and Researcher, University of London เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 เป็นส่วนหนึ่งของวิชา GI282 Disruptive Innovation ปีการศึกษา 2563