GE015 Entrepreneurial Spirit and Financial Literacy: การบริหารจัดการและวางแผนการเงิน (EP.2/5)
การวางแผนการเงิน เป็นกระบวนการจัดการเงินอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเงินและเป้าหมายในชีวิต ด้วยการบริหารจัดการที่ดีเราจะมั่นใจได้ว่าสุขภาพทางการเงินของเราจะแข็งแรงและมั่นคง ทําให้เราสามารถดําเนินชีวิตได้ตามที่ต้องการ โดย ดร.สุมณี ศุภกรโกศัย
GE015 Entrepreneurial Spirit and Financial Literacy: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการลงทุน (EP.1/5)
Investment การนำเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ ไปใช้ในการซื้อสินทรัพย์หรือกิจกรรมใด ๆ โดยมีความคาดหวังว่าจะได้รับผลตอบแทนหรือกำไรในอนาคต การลงทุนสามารถแบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะและความเสี่ยง เป้าหมายของการลงทุนมักเป็นการเพิ่มพูนมูลค่าเงินทุนที่ลงไป หรือการสร้างรายได้เพิ่มเติมจากผลตอบแทน โดย ดร.สุมณี ศุภกรโกศัย
Instructor: สุมณี ศุภกรโกศัย
Group: BU Community
GE013 Technology and Innovation for the Future: Disruptive Technology (EP.1/5)
เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงภาคธุรกิจและพฤติกรรมของผู้บริโภคอย่างรวดเร็วและรุนแรง ซึ่งจะมีผลต่อตลาดของผลิตภัณฑ์เดิมหรือเทคโนโลยีเดิม ๆ โดยที่อาจจะเข้ามาแทนที่เทคโนโลยีเดิมทำให้เทคโนโลยีเหล่านั้นหายไปอย่างถาวร โดย ดร.นฤเทพ สุวรรณธาดา
GE011 Thinking Skills for Lifelong Learning: Computational Thinking (EP.3/5)
แนวคิดเชิงคำนวณ Computational Thinking เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนวทางหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดย ดร.นฤเทพ สุวรรณธาดา
Get inside the customer’s mind
Get inside the customer's mind refers to the process of understanding and empathizing with the thoughts, feelings, preferences, and behaviors of customers or clients. It involves gaining insight into their motivations, needs, and desires in order to better serve them, meet their expectations, and create products or services that resonate with them. By Wichai Pornpratang
Instructor: Wichai Pornpratang
Group: BU Community
Course(s):
5/5 - (4 votes)
Tag(s): , , ,
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”