GE015 Entrepreneurial Spirit and Financial Literacy: การบริหารจัดการและวางแผนการเงิน (EP.2/5)
การวางแผนการเงิน เป็นกระบวนการจัดการเงินอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเงินและเป้าหมายในชีวิต ด้วยการบริหารจัดการที่ดีเราจะมั่นใจได้ว่าสุขภาพทางการเงินของเราจะแข็งแรงและมั่นคง ทําให้เราสามารถดําเนินชีวิตได้ตามที่ต้องการ โดย ดร.สุมณี ศุภกรโกศัย
GE015 Entrepreneurial Spirit and Financial Literacy: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการลงทุน (EP.1/5)
Investment การนำเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ ไปใช้ในการซื้อสินทรัพย์หรือกิจกรรมใด ๆ โดยมีความคาดหวังว่าจะได้รับผลตอบแทนหรือกำไรในอนาคต การลงทุนสามารถแบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะและความเสี่ยง เป้าหมายของการลงทุนมักเป็นการเพิ่มพูนมูลค่าเงินทุนที่ลงไป หรือการสร้างรายได้เพิ่มเติมจากผลตอบแทน โดย ดร.สุมณี ศุภกรโกศัย
Instructor: สุมณี ศุภกรโกศัย
Group: BU Community
GE013 Technology and Innovation for the Future: Intellectual Property for Innovation (EP.4/5)
ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการสร้างสรรค์หรือพัฒนาเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ หรือแนวคิดใหม่ ๆ ที่ส่งเสริมนวัตกรรม (Innovation) IP ช่วยให้ผู้สร้างสรรค์หรือผู้คิดค้นมีสิทธิ์คุ้มครองและเป็นเจ้าของผลงานของตนเอง ซึ่งสามารถใช้ในการสร้างมูลค่า การแข่งขันทางธุรกิจ หรือการกระตุ้นให้เกิดการวิจัยและพัฒนาเพิ่มเติม โดย อ.บุญยศิษย์ บุญโพธิ์
GE012 Citizenship in Society and International Community: PDPA Personal Data Protection Act (EP.2/5)
PDPA พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งเป็นกฎหมายที่ถูกสร้างมาเพื่อป้องกันการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลของทุกคน รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลและนำไปใช้โดยไม่ได้แจ้งให้ทราบ และไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลเสียก่อน โดย อ.บุญยศิษย์ บุญโพธิ์
Monthly Update : New Business Idea Development
Monthly Update is a monthly event conducted by BUSEM Center for Entrepreneurship aiming to develop both entrepreneurial skills and mindset, update news on up-to-the-minute business topics, and provide students opportunity to prepare and get ready for upcoming events in the business world.
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”