Global Mindset ทัศนคติหรือกรอบความคิดแบบสากล เป็นการมองในมุมกว้างที่ไม่ได้จำกัดแค่เฉพาะความรู้หรือข้อมูลที่มีแค่ในประเทศหรือเพียงแค่ในสังคมที่ตนอาศัยอยู่ แต่ต้องรู้ให้เท่าทันโลกที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อก้าวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ โดย ผศ.ดร.ภัทริยา งามมุข
กระบวนการสร้าง Growth Mindset ปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้เพร้อมเรียนรู้และรับมือกับความเปลี่ยนแปลง วิธีคิดที่เชื่อว่าทักษะและความรู้ความสามารถของเราสามารถพัฒนาได้ผ่านการเรียนรู้และการพยายามฝึกฝน ไม่มีอะไรที่อยู่เหนือความพยายามและความตั้งใจ โดย ผศ.ดร.ภัทริยา งามมุข
The COVID-19 pandemic significantly impacted businesses worldwide, and digital marketing played a crucial role in helping companies adapt and survive during the crisis, and some key effects of digital marketing on businesses during the COVID-19 pandemic By Siuki, Helen
การบรรยายเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลความต้องการของลูกค้า (Customer Insight) นำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ของพฤกษา เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์ยุคใหม่และเทรนด์ความใส่ใจด้านสุขภาพและการใช้ชีวิตในยุคโควิด โดย Kamolsri Autsawaphakorn
Talk on strategic marketing communications & brand collaboration strategy by Khun Angsana Puangmalit, Communication Art Major, Bangkok University International
การบรรยายเกี่ยวกับ Workshop and food tasting “Thai kitchen to the world” เปิดประสบการณ์ใหม่ในการทำอาหารไทยกับคอร์สเรียนทำอาหารไทยสุดพิเศษ ที่จะพาทุกคนเรียนรู้ศิลปะและเทคนิคการทำอาหารไทยแบบดั้งเดิม ตั้งแต่ขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นสูง โดย Chef Vanessa Wu
SMEs หาเงินทุนไม่ยากอย่างที่คิด (Traditional Fund) ทำไมเงินทุนจึงสำคัญ การทำธุรกิจ SMEs การหาแหล่งเงินทุนในการทำธุรกิจ และกลไกเครื่องมือในการช่วยหาเงินทุน บรรยายโดย คุณพรเทพ การศัพท์ คุณเกรียงไกร ไชยศิริวงศ์สุข คุณอัครนันท์ ฐิตสิริวิทย์ และคุณกิจพณ ไพรไพศาลกิจ
Instructor: พรเทพ การศัพท์, เกรียงไกร ไชยศิริวงศ์สุข, อัครนันท์ ฐิตสิริวิทย์ และกิจพณ ไพรไพศาลกิจ
Group: Public
Course(s):
Tag(s):
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”