GE014 Aesthetics and Well-being for Life: ก่อการรักเข้าใจ “ความสัมพันธ์” สร้างความสุขสู่ความรัก (EP.1/6)
การที่คนสองคนเชื่อมโยงกันทางด้านอารมร์และทางกาย ซึ่งเป็นการผสมผสานที่มีระดับแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบและระดับความสัมพันธ์ การสื่อถึงรูปแบบความสัมพันธ์ต่าง ๆ โดย อ.พัชราพร ดีวงษ์
การใช้งานเว็บไซต์ eBooks ภาษาอังกฤษ
การแนะนำเว็บไซต์ eBooks ภาษาอังกฤษ ค้นหาและเลือกอ่านหนังสือที่ชื่นชอบได้ง่าย ๆ เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนหรือเมื่อไหร่ ก็สามารถเข้าถึงหนังสือเล่มโปรดได้ทันที โดย สำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
Bookdose PATH
การแนะนำ Bookdose PATH แอปพลิเคชันอ่าน eBooks ภาษาไทย สามารถเข้าใช้งานผ่านเว็บไซต์ แท็ปเลต หรือมือถือ ได้ทุกที่ทุกเวลา เพิ่มความสะดวกสบายในการอ่าน ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาได้สามารถเข้าถึงอีบุ๊กลิขสิทธิ์มากกว่า 500 ชื่อ 40 หัวเรื่อง โดย สำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
Online Resource
การแนะนำเว็บไซต์ Online Resource (onlineresource.bu.ac.th) ที่รวบรวมข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ มีทั้งบทความวารสาร วิทยานิพนธ์ Video Blog ความรู้ต่าง ๆ ซึ่งหอสมุดได้รวบรวมไว้ โดยแบ่งตามหัวเรื่อง (Subject) ที่ทันสมัยและกำลังเป็นกระแส ไม่มีตกเทรนด์แน่นอน สามารถเข้าใช้ที่ไหนเมื่อไหร่ก็ได้ โดย สำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
Welcome BU Library
การแนะนำหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เกี่ยวกับข้อมูลการให้บริการต่าง ๆ เวลาเปิด-ปิด และวันทำการ และช่องทางการติดต่อ โดย สำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
การใช้ฐานข้อมูล Business Source Ultimate (BSU)
การใช้ฐานข้อมูลวิชาการทางด้านธุรกิจที่ดีที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ประกอบไปด้วยแหล่งข้อมูลทางธุรกิจที่มีขนาดใหญ่กว่าทุก ๆ ฐานข้อมูล มีเนื้อหาวารสารวิชาการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจชั้นนำของโลกมากที่สุด โดยสำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
การสืบค้นข้อมูลจาก TDC
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ ที่ให้บริการเอกสารฉบับเต็ม (Full text) วิทยานิพนธ์ รายงาน การวิจัยของอาจารย์และนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยสำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”