GE015 Entrepreneurial Spirit and Financial Literacy: การบริหารจัดการและวางแผนการเงิน (EP.2/5)
การวางแผนการเงิน เป็นกระบวนการจัดการเงินอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเงินและเป้าหมายในชีวิต ด้วยการบริหารจัดการที่ดีเราจะมั่นใจได้ว่าสุขภาพทางการเงินของเราจะแข็งแรงและมั่นคง ทําให้เราสามารถดําเนินชีวิตได้ตามที่ต้องการ โดย ดร.สุมณี ศุภกรโกศัย
GE015 Entrepreneurial Spirit and Financial Literacy: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการลงทุน (EP.1/5)
Investment การนำเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ ไปใช้ในการซื้อสินทรัพย์หรือกิจกรรมใด ๆ โดยมีความคาดหวังว่าจะได้รับผลตอบแทนหรือกำไรในอนาคต การลงทุนสามารถแบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะและความเสี่ยง เป้าหมายของการลงทุนมักเป็นการเพิ่มพูนมูลค่าเงินทุนที่ลงไป หรือการสร้างรายได้เพิ่มเติมจากผลตอบแทน โดย ดร.สุมณี ศุภกรโกศัย
Instructor: สุมณี ศุภกรโกศัย
Group: BU Community
GE012 Citizenship in Society and International Community: Global Mindset (EP.3/5)
Global Mindset ทัศนคติหรือกรอบความคิดแบบสากล เป็นการมองในมุมกว้างที่ไม่ได้จำกัดแค่เฉพาะความรู้หรือข้อมูลที่มีแค่ในประเทศหรือเพียงแค่ในสังคมที่ตนอาศัยอยู่ แต่ต้องรู้ให้เท่าทันโลกที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อก้าวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ โดย ผศ.ดร.ภัทริยา งามมุข
GE011 Thinking Skills for Lifelong Learning: Growth Mindset (EP.1/5)
กระบวนการสร้าง Growth Mindset ปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้เพร้อมเรียนรู้และรับมือกับความเปลี่ยนแปลง วิธีคิดที่เชื่อว่าทักษะและความรู้ความสามารถของเราสามารถพัฒนาได้ผ่านการเรียนรู้และการพยายามฝึกฝน ไม่มีอะไรที่อยู่เหนือความพยายามและความตั้งใจ โดย ผศ.ดร.ภัทริยา งามมุข
สายไปมั้ย อยากเป็น Youtuber
การบรรยายเกี่ยวกับการทำอาชีพ Youtuber ให้ประสบความสำเร็จ และให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ของคนยุคใหม่กับเจ้าของเพจ Kaykai Salaider และเจ้าของเพจ Dek Jew Chill out
How to be เศรษฐีพอเพียง
สารพันเกร็ดความรู้เรื่องการเงิน จาก ดร.อัจฉรา โยมสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและคร่ำหวอดในวงการมายาวนาน ทั้งในบทบาทอาจารย์ภาควิชาการเงิน ที่ปรึกษาด้านการเงินและการลงทุน วิทยากร ฯลฯ โดยมีแนวคิดที่น่าสนใจและร่วมสมัยจากการน้อมนำแนวคิดเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ผสมผสานกับศาสตร์ด้านการเงิน เกิดเป็นหลักการบริหารจัดการการเงินที่ให้ผลลัพธ์อย่างยั่งยืน เกิดเป็นศัพท์ใหม่ “เศรษฐีพอเพียง”